Mar 29, 2023

สาระความรู้กับศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา 8:未来の見立て

 



 どうも、こんにちは! 

 先週は、「見立て」の文化として田遊びを考えようと述べました。今日は田遊びとはどのようなお祭りかをみていきましょう。

 田遊び祭りは、全国各地にあり、中世(12-16世紀)の頃に起源をもつものが多いです。

 私が取り上げる東京都板橋の徳丸・北野神社と赤塚・諏訪神社で行われる田遊びもかなり古く、神社の史料によると、995年に田遊びは開始されています。つまり1000年以上も続いているのですね。どこまで正しい年代かはわかりませんが、かなり古いお祭りです。

 では、田遊びはどのような祭りでしょうか。それは新しい年の始まりに、米作りのサイクル(種まきから刈取りまで)を演じるというものです。それで今年の作物の豊作や子孫繁栄を願います(予め祝うということで「予祝」と言ったりします)。

 徳丸の田遊びで米作りのサイクルを演じるメンバーは、江戸時代には「祭り衆」と言われ、16名いました。祭り衆のリーダーは「大稲本」と言われます。

 祭りの準備として、神社の境内に4本の青竹が立てられます。そこに注連縄が張られます。数メートル四方の囲みができて、その中は神聖な空間=聖域となります。



 そして、その聖域の中央に太鼓が置かれます。太鼓は田んぼに見立てられていて、これを中心にして米作りのサイクルが演じられるのです。たとえば…



  大稲本…「よう よなんぞうどの(おう、米人たちよ)」
  祭り衆…「よう(おう)」
  大稲本…「一鍬を打ち候(鍬(くわ)を土に打ちこもう」」
  祭り衆…「打ち候 ザンブリ やーらめでたやな 一鍬をざぶっと打って候えば こわいごりょうの鍬をほん鍬とす よいいいさきと申して目出度候(打ち込もう。ザッ。いやーめでたいな。鍬を打って、お米の香りがする。この先いいことがあって、おめでたいな」…



 こんなふうに祭り衆は鍬(に見立てた餅)を田んぼ(に見立てた太鼓)に打ち、謡います。しかも鍬を土に打ち込んだら、もうお米の匂いがするというから、何ともおめでたいことです。

 その後にも様々なサイクルを演じ謡います。田んぼに水を入れてならす。田植えをして稲を育てる。最後に稲を刈り取って、「今年も豊作だー」と大祝いをする。これが祭りの流れです。

 これら祭り衆の演技の大半は、聖域の中で太鼓を取り囲んで行われます。そして私たち観客は、聖域の外から眺めます。祭り衆の演技を見て、一緒になって笑い、豊作の未来を祝います。

 つまり、田遊びというのは豊作の未来像をみんなでシェアするという祭りなのですね。未来の願望を見立てたスクリーンみたいなものが、田遊びなのです。

 そんな祭りの中には様々な見立ての仕掛けがたくさんあります。それについては、また来週。

 それでは!
(文責:若曽根了太)


<参考>
・板橋区立郷土資料館編. 1997.『田遊び : 農耕文化と芸能の世界』. 東京 : 板橋区立郷土資料館.
・Ryota Wakasone. 2560. บทบาททางสังคมของโทะชอโยริในฐานะผู้นำพิธีกรรมในช่วงกลางสมัยเอโดะ: วิเคราะห์เกี่ยวกับงานเทศกาลทะอะโซะบิ. วารสารวิชาการของสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย (JSN Journal). 7(2): 27-38. (タイ語論文).
・写真は全て2012年に若曽根が撮影。

Mar 22, 2023

สาระความรู้กับศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา 7:「見立て」の文化




 今年に入り日本研究センターでは、「สาระความรู้กับศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา(<知>と日本研究センター)と題して、日本文化についてのエッセイを発信しています。今週からはお祭りに隠された日本文化を探ることをテーマとしてみていきたいと思います(日本語で😁)。よろしくお願いします。

 さて、先週、日本研究センターは狂言師の泉愼也様と山本豪一様をお招きし、「狂言ワークショップ」を開催しました。ワークショップの中で山本狂言師は、扇を持って様々なジェスチャーをし、それが何を示しているのかのクイズをしました。山本狂言師は言いました。

 「狂言はイメージを使って見るものです…」

ーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーー


 「イメージを使って見る」とは、別のものを使って、別の物事をイメージさせるということ。つまりそこに本当は無いものをまるで実際にあるかのように、あるいはそれとは違うものをまるでそれかのように「見立てる」ことです。


 「見立て」は、日本の「文化につきまとう要素」と人類学者・山口昌男先生は述べています。


 先生によると、例えば歌舞伎。これは舞台の道具やパフォーマンスを使って、色々な歴史的事実(例えば源平合戦など)を見立てます。家の中で盆栽・盆山を作るのも見立て。和食料理のお造りも見立て。


 つまり、「日本文化の普通の生活でも時空の制約を越えて『もの』のイメージを拡大させるために『見立て』ということが盛んに用いられてきた」というのです。

(以上、山口昌男『学問の春<知と遊び>の10講義』: 186-187頁より)


 このような先生のご指摘に従えば、どうやら「見立て」に焦点をあてると、日本文化の技術の一面が見えてきそうです。


 そこで、来週から数回にわたって、1000年以上の伝統をもつ田遊びというお祭りの「見立て」に着目します。そして、いったいこのお祭りにはどのような意味があるのかという点を述べてみたいと思います。


ちなみに、写真。これは魚の鯛に見立てているそうです。


(文責:若曽根了太)



<参考>

山口昌男. 2009. 『学問の春<知と遊び>の10講義』. 東京. 平凡社.

Mar 16, 2023

กิจกรรมการบรรยายเชิงวิชาการออนไลน์ "歌舞伎に親しむ " โดย Dr. Ryo Kimura ー 木村涼博士(岐阜女子大学)による「歌舞伎に親しむ 」ご講義



เมื่อวันเสาร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 ที่ผ่านมา ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯได้จัดกิจกรรมการบรรยายเชิงวิชาการในหัวข้อ "歌舞伎に親しむ " โดย ดร. Ryo Kimura (Specially Appointed Associate Professor, Faculty of Cultural Development, Department of Cultural Development, Gifu Women's University) ผ่าน Zoom Application ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องมาจากปีที่ผ่านมาโดยเป็นการบรรยายเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาและลักษณะเฉพาะของการแสดงคาบูกิ ของประเทศญี่ปุ่น โดยได้รับความสนใจเป็นอย่างมากจากผู้เข้าร่วมในการร่วมถามคำถามและวิเคราะห์เกี่ยวกับการแสดงคาบูกิร่วมกัน

ซึ่งทางศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ ขอขอบพระคุณดร. Ryo Kimura เป็นอย่างสูงบที่ได้ให้เกียรติมาแบ่งปันความรู้แก่เราในครั้งนี้ค่ะ


2月11日(土)、木村涼博士(岐阜女子大学)による「歌舞伎に親しむ 」のご講義が ZOOMにて行われました。去年ご好評につき今年も開催されたこの講義は、歌舞伎の特徴や歴史的展開についてがよくわかる内容でした。参加してくれた方々も積極的に受講され、質問も多く出されました。

木村先生、昨年に引き続き今年もご講義くださりましてありがとうございました。この場をお借りして御礼申し上げます。







Mar 9, 2023

3月15日(水)狂言ワークショップが開催されます!

 


2023 年3 月15日(水)9:30~11:30、チェンマイ大学人文学部50周年記念ホールにて、「狂言ワークショップ」が開催されます! 

平安時代に原型をもち、中世の頃に確立された狂言。そんな長い歴史をもつ狂言を受け継ぐ和泉流狂言師のおふたりを、日本研究センターはお招きします。 

狂言を鑑賞し、さらに体験できるワークショップは、またとない機会です。ご参加いただけるのは先着100名限定となっておりますので、どうぞ皆さまお早めのご登録・ご参加をお願いします!


ご登録はポスター内QRコード、又は https://cmu.to/SgIP8 のリンクよりどうぞ。

Mar 8, 2023

สาระความรู้กับศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา6:มาสคอต “ยูรุเคียระ” และ “โกะโตจิเคียระ” ที่มีชื่อเสียง



“ยูรุเคียระ”ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเริ่มโดดเด่นขึ้นในปีค.ศ.2007 มีการสร้างมาสคอตชื่อ“ฮิโกเนียน” เพื่อเป็นมาสคอตเพื่อฉลองครบรอบ 400 ปีของปราสาทฮิโกะเนะ จังหวัดชิงะ และในปีค.ศ.2008 มีการจัดงาน “เทศกาลยูรุเคียระ” ต่อมาในปีค.ศ.2010 เริ่มมีการจัดงาน Yurukyara Grand Prix และมีมาสคอตเข้าร่วมงานมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งมีมาสคอตทั้งแบบที่บริหารจัดการโดยองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สมาคมการท่องเที่ยวของท้องถิ่นและประชาชนทั่วไป ซึ่งการนำไปใช้นั้นมีทั้งแบบที่ให้ใช้ได้โดยไม่คิดเงินกับแบบที่ต้องมีการจ่ายเงิน

“โกะโตจิเคียระ” หรือ “มาสคอตท้องถิ่น” เพื่อการประชาสัมพันธ์ของจังหวัดคุมะโมะโตะคือ “คุมะมง” ปรากฏตัวขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.2010 และชนะการประกวดในงาน Yurukyara Grand Prix ในปีค.ศ.2011 และปรากฏตัวในโฆษณาโทรทัศน์ในปีค.ศ.2012 นอกจากนี้ยังมีตัวมาสคอตที่ไม่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการของเทศบาลเมืองฟูนาบาชิ จังหวัดชิบะ ชื่อ “ฟุนัตชี่”(ふなっしー)ก็ถูกเปิดตัวโดยภาคประชาชนของเมืองฟูนาบาชิตั้งแต่ปีค.ศ.2011 และปรากฏตัวในโฆษณาโทรทัศน์ตั้งแต่ปีค.ศ.2013 จึงทำให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง

โดยสาเหตุที่ทำให้ยูรุเคียระเป็นที่นิยมนั้นคือ มีการทำกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์ด้วยภาพลักษณ์และเทคนิคการเผยแพร่โดย SNS (Social Network System) เช่น Facebook Twitter และ Instagram ซึ่งส่งผลดังนี้ คือ

1) การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับยูรุเคียระ เช่น การใช้สื่อ การจัดอีเว้นท์และการใช้ SNS ส่งผลให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น

2) ส่งผลให้มีผู้เข้าร่วมงานอีเว้นท์ต่างๆมากขึ้นและเพิ่มยอดขายของสินค้าที่เกี่ยวข้อง

3) การเป็นที่นิยมของยูรุเคียระทำให้มีการส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ท้องถิ่นและส่งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากการซื้อสินค้าที่เกี่ยวข้องกับมาสคอตและยังเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวในท้องถิ่นด้วยเช่นกัน




****************************************

พบกับสาระความรู้กับศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ ได้ในทุกวันพุธ
ส่วนตอนต่อไปจะเป็นความรู้เกี่ยวกับอะไร อย่าลืมติดตามรับชม!!!

Mar 7, 2023

ประชาสัมพันธ์กิจกรรม "KYOGEN "Workshop" 狂言ワークショップの開催



ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มช.
ขอประชาสัมพันธ์กิจกรรมการบรรยายเชิงวิชาการด้านญี่ปุ่นศึกษา หัวข้อ

"KYOGEN "Workshop"

ในวันพุธที่ 15 มีนาคม 2566 เวลา09.30 - 11.30น.
ณ ห้องประชุม 50 ปี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(บรรยายเป็นภาษาญี่ปุ่น และมีล่ามบรรยายไทย)

โดยในกิจกรรม ท่านจะได้ทำความรู้จัก KYOGEN (狂言) ศิลปะการแสดงดั้งเดิมของประเทศญี่ปุ่นที่มีประวัติศาสตร์อย่างยาวนานกว่า650ปี จากวิทยากรผู้มากประสบการณ์ซึ่งเป็นนักแสดงจากสำนักเคียวเก็น อิซุมิ ประเทศญี่ปุ่น และมีโอกาสได้ร่วมเวิร์คช็อปกิจกรรมสุดพิเศษซึ่งเป็นประสบการณ์ที่หาได้ยากในประเทศไทย!!

ท่านที่สนใจ สามารถลงทะเบียนได้ผ่านทาง QR Code ในโปสเตอร์
หรือทางลิ้งค์ https://cmu.to/SgIP8 ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

สามารถเข้าร่วมโดยไม่มีค่าใช้จ่าย
จำกัดผู้เข้าร่วมไม่เกิน 100 ท่านเท่านั้น!!!

แล้วมาเข้าร่วมกันเยอะๆนะคะ

2023 年3 月15日(水)9:30~11:30、チェンマイ大学人文学部50周年記念ホールにて、
「狂言ワークショップ」が開催されます! 

平安時代に原型をもち、中世の頃に確立された狂言。
そんな長い歴史をもつ狂言を鑑賞し、さらに体験できるチャンスです。

日本研究センターは和泉流狂言師のおふたりをお招きし、ワークショップを開催いたします。 

狂言が体験できる機会はなかなかございません。100名限定となっておりますので、どうぞ皆さま奮ってのご登録・ご参加をお願いします。

ご登録はポスター内QRコード、又は https://cmu.to/SgIP8 のリンクよりどうぞ。