Oct 30, 2017

ประชาสัมพันธ์การบรรยายพิเศษเชิงวิชาการด้านญี่ปุ่นศึกษา / 日本研究セミナーのお知らせ

ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
ขอประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมการบรรยายเชิงวิชาการด้านญี่ปุ่นศึกษา
チェンマイ大学人文学部日本研究センターより
講演会のご案内いたします。

ในหัวข้อ "การเปลี่ยนแปลงมุมมองเกี่ยวกับชาวต่างชาติในสมัยเอโดะ-การก้าวสู่การเป็นประเทศญี่ปุ่นสมัยใหม่-"

「江戸時代の対外認識とその変容-近代日本への道程-」



วันอาทิตย์ที่ 12 พฤศจิกายน 2560
เวลา 9.00-12.00 น. 
ณ ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ HB 6 ชั้น 1
2017年11月12日(日)
9時から12時まで
チェンマイ大学人文学部日本研究センター 6号館1階

วิทยากร: อาจารย์ ดร. Masanobu MATSUKAWA
   อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก 
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  

講演者:松川 雅信
チェンマイ大学東洋言語学科日本語科
博士、常任講師 

บรรยาย : ภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย 
使用言語:日本語・タイ語

ผผู้แปลความ: อาจารย์ ดร. ปิยธร แก้ววัฒนะ 
     อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น 
       คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
通訳者:ピヤトーン・ゲーウワタナ 
(人文学部東洋言語学科日本語科、講師)

จัดโดย: ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
主催:チェンマイ大学人文学部日本研究センター

ผู้ที่สนใจเข้าร่วมรับฟังการบรรยาย กรุณาติดต่อสำรองที่นั่งล่วงหน้าภายในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2560 
ที่ ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ โทรศัพท์ (Tel) 053-943284 หรืออีเมล(Email) cmujapancenter@gmail.com

2017年11月8日までに電話もしくはEmailで事前にご出席をご連絡ください。
Tel: 053-943284
Email: cmujapancenter@gmail.com

ประชาสัมพันธ์การบรรยายแนะนำบริษัทญี่ปุ่นพร้อมการเสวนา ครั้งที่ 6/ 第6回日本セミナー開催のお知らせ



ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ขอประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วม

チェンマイ大学人文学部日本研究センターより講演会のご案内

“การบรรยายแนะนำบริษัท/องค์กร ญี่ปุ่นในประเทศไทย”
พร้อมการเสวนาพิเศษในหัวข้อ ”การทำงานในบริษัทญี่ปุ่นยุคปัจจุบัน” ครั้งที่ 6


ในวันเสาร์ที่ 18 พฤศจิกายน 2560 เวลา 13.00 – 16.00 น. 

ณ หอการแสดงดนตรี ดร.สายสุรี จุติกุล มหาวิทยาลัยพายัพ

จัดโดยเครือข่ายภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาระดับอุดมศึกษาภาคเหนือ 

ร่วมกับหอการค้าญี่ปุ่น-กรุงเทพฯและมหาวิทยาลัยพายัพ


第6回日本セミナー「在タイ日系企業の現在」

および在タイ日系企業講演・ご紹介


2017年11月18日(土)、13:00-16:00

会場:パヤップ大学サーイスリー・ジュティグン・ミューシックホール
(Saisuree Chutikul Music Hall)

主催:北部タイ日本語日本研究大学コンソーシアム、バンコク日本人商工会議所、

パヤップ大学




โดยโครงการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วม ได้รับสาระความรู้ และรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทหรือองค์กรญี่ปุ่นในประเทศไทย เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเตรียมความพร้อมในการสมัครเข้าทำงานในบริษัทญี่ปุ่นต่อไปในอนาคต ซึ่งการบรรยายฯ ครั้งนี้ได้รับเกียรติจากวิทยากรซึ่งเป็นตัวแทนจากบริษัทสัญชาติญี่ปุ่นจำนวน 3 แห่ง ได้แก่

(1) คุณประพันธ์ จันทร์วัฒนพงษ์ จากบริษัท Toyota Motor Thailand Co., Ltd.

(2) คุณวลัยรัตน์ อภินัยนาถ จากบริษัท AEON (Thailand) CO., Ltd.

(3) คุณภาวิณี สมทรัพย์ จากบริษัท Japan Airlines Co., Ltd.


本セミナーでは、タイにおける日系企業・機関の詳細な情報を、興味のある皆さんにお伝えし、講演を通して、将来、日系企業で求職をする準備を調えられるようにすることを目的としています。今回、以下の日系企業三社の代表を講演者にお呼びしております。

(1)  プラパン・ジャンワタナポン氏 (Mr. PRAPHAN JANWATTHANAPHONG)
Toyota Motor Thailand Co., Ltd.


(2)  ワライラット・アピナイナート氏 (Ms. WALAIRAT APINAINAD)
AEON (Thailand) CO., Ltd.


(3)  パーウィニー・ソムサップ氏 (Ms. PAWINEE SOMSAP)
Japan Airlines Co., Ltd.


เข้าร่วมฟรี ไม่เสียค่าลงทะเบียน!! 
ผู้ที่สนใจเข้าร่วมฯ กรุณาแจ้งความประสงค์/ สำรองที่นั่งล่วงหน้า 
ทาง e-mail : northconsortiumjp@gmail.com
ภายในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560


参加費無料!! 参加ご希望の方は以下、
2017年11月10日まで
北部タイ日本語日本研究大学コンソーシアムの 
e-mail : northconsortiumjp@gmail.comまでご連絡ください。

Oct 25, 2017

【Report】เชิญชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการJapanese Society in Film ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม/ Report ピブーンソンクラーム・ラーチャパット大学での映画から見る日本社会『のんちゃんのり弁』上映会&セミナー開催

เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2560 เวลา 9.00 – 12.00 น. ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้เข้าร่วมกับสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม,สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, เครือข่ายภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาระดับอุดมศึกษาภาคเหนือ และเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ โดยการสนับสนุนจากหอการค้าญี่ปุ่น-กรุงเทพฯ กำหนดจัดโครงการ Japanese Society in Film เรื่อง " ข้าวกล่องน้อยหน้ายิ้มของแม่(Noriben -the Recipe for Fortune-)

ในโอกาสนี้ได้รับเกียรติจากอาจารย์ ต่อศักดิ์ ร่มส้มซ่า (สาขาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม) เป็นวิทยากรผู้บรรยาย ในการนี้ อ.สรัญญา คงจิตต์ หัวหน้าศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา และอาจารย์ ดร. มาซายูกิ นิซิดะ รองหัวหน้าศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เข้าร่วมการบรรยายดังกล่าว

2017年10月20日 9:00 - 12:00、チェンマイ大学人文学部日本研究センターは、ピブーンソンクラーム・ラーチャパット大学で開催された『映画から見る日本社会「のんちゃんのり弁」上映会&セミナー』(共催:ピブーンソンクラーム・ラーチャパット大学、国際交流基金、北部タイ日本語日本研究コンソーシアム、ナレ―スワン大学、チェンマイ大学人文学部日本研究センター、協賛:バンコク日本人商工会議所)に対して開催協力をいたしました。

同セミナーでは、ピブーンソンクラーム・ラーチャパット大学人文社会学部東洋言語学科日本語科講師トーサック・ロムソムサー先生に日本の女性の抱える問題についてご講義いただきました。チェンマイ大学人文学部日本研究センターからは、サランヤー・コンジット所長および西田昌之副所長がセミナーに参加しました。




ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปถมา เอี่ยมสอาด
คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
パッタマー・イヤムサアート助教授
ピブーンソンクラーム・ラーチャパット大学人文社会学部長
อาจารย์ ต่อศักดิ์ ร่มส้มซ่า
สาขาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
トーサック・ロムソムサー講師
ピブーンソンクラーム・ラーチャパット大学人文社会学部東洋言語学科日本語科






หลังการบรรยายเสร็จสิ้น ได้เข้าเยี่ยมชมสาขาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
講演の後、ピブーンソンクラーム・ラーチャパット大学
人文社会学部東洋言語学科日本語科に訪問しました。



คณาจารย์ ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ เข้าเยี่ยมสาขาวิชาภาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร/ナレ―スワン大学人文社会学部東洋言語学科日本語科に表敬訪問

เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2560 อาจารย์สรัญญา คงจิตต์ หัวหน้าศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา และ อาจารย์ ดร. Masayuki NISHIDA รองหัวหน้าศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เดินทางเข้าเยี่ยมชมสาขาวิชาภาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และได้เข้าพบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภา มะสึนาริ หัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

2017年10月20日チェンマイ大学人文学部日本研究センター サランヤー・コンジット所長と西田昌之副所長が、ピサヌロークのナレ―スワン大学人文社会学部東洋言語学科日本語科を訪問し、ソーパー・松成学科長にお迎えいただきました。


Oct 24, 2017

ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ ได้รับหนังสือบริจาคจาก เจแปนฟาวน์เดชั่น(Japan Foundation) / 国際交流基金より図書寄贈

เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560 ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ ได้รับมอบหนังสือและDVDเกี่ยวกับญี่ปุ่นศึกษา จากเจแปนฟาวน์เดชั่น(Japan Foundation) ประเทศญี่ปุ่น เพื่อใช้ประโยชน์ตามพันธกิจของศูนย์ฯ ต่อไป
โดยมีรายชื่อหนังสือดังต่อไปนี้(Part 1/2660)

2017年10月20日国際交流基金(ジャパンファウンデーション)より日本研究関連図書とDVDの寄贈を受けました。(2017年度分Part1)





1. 『イデオロギーとしての日本文化論』ベフ, ハルミ 361.5
2. 『新版 においの歴史―嗅覚と社会的想像力』コルバン, アラン 519.7
3. 『現代ゲーム全史 文明の遊戯史観から』 中川大地 798.5
4. 『僕たちのゲーム史』さやわか 798.02
5. 『ハンドブック 日本近代文学研究の方法』 日本近代文学会 910.26
6. 『現代思想の教科書 : 世界を考える知の地平15章』 石田 英敬 104
7. 『コミュニティ・オブ・プラクティス : ナレッジ社会の新たな知識形態の実践』 ウェンガー, エティエンヌ 他 336.3
8. 『状況に埋め込まれた学習 : 正統的周辺参加』レイヴ, ジーン 他 371.4
9. 『「学び」の構造』 佐伯胖 371.4
10. 『日本ゲーム産業史 ゲームソフトの巨人たち』 日経BP社ゲーム産業取材班 589.77
11. 『シングル女性の貧困――非正規職女性の仕事・暮らしと社会的支援』 横浜市男女共同参画推進協会編著 366.3
12. 『廃墟の残響 : 戦後漫画の原像』 桜井哲夫 726.1
13. 『敗者の身ぶり : ポスト占領期の日本映画』 中村秀之 778.21
14. 『暗黙知の次元』 ポランニー, マイケル 116.5
15. 『システム社会の現代的位相』 山之内靖 361.2
16. 『日常と不在を見つめて ドキュメンタリー映画作家 佐藤真の哲学』 里山社 778.21
17. 『コミュニティ : グローバル化と社会理論の変容』 デランティ, ジェラード 361.7
18. 『現代思想 2016年10月号 緊急特集*相模原障害者殺傷事件』  青土社 305
19. 『相模原事件とヘイトクライム』 保坂展人 369.27
20. 『相模原障害者殺傷事件 : 優生思想とヘイトクライム』 立岩真也, 杉田俊介 369.27
21. 『障害者運動のバトンをつなぐ : いま、あらためて地域で生きていくために』 尾上浩二他 369.27
22. 『GHQの検閲・諜報・宣伝工作』  山本武利 023.8
23. 『可視化された帝国 近代日本の行幸啓』 原武史 288.48
24. 『1950年代 : 「記録」の時代』 鳥羽耕史 910.264
25. 『歴史の場: 史跡・記念碑・記憶』  若尾祐司, 和田光弘編著 230
26. 『複数の「ヒロシマ」 : 記憶の戦後史とメディアの力学』 福間良明 他 319.8
27. 『再生産について: イデオロギーと国家のイデオロギー諸装置 上』 アルチュセール, ルイ 309.3
28. 『再生産について: イデオロギーと国家のイデオロギー諸装置 下』 アルチュセール, ルイ 309.3
29. 『他力の思想 : 仏陀から植木等まで』 山本伸裕 181
30. 『恥の文化再考』 作田啓一 361.04
31. 『脱アイデンティティ』 上野千鶴子編 361.04
32. 『映画、見てますか〈part2〉スクリーンから読む異文化理解』 長坂 寿久 778.04
33. 『映画で異文化体験 : 異文化コミュニケーション講座』 桜木俊行 778.04
34. 『イデオロギーとは何か』 イーグルトン, T 309
35. 『ルポ消えた子どもたち : 虐待・監禁の深層に迫る』 NHKスペシャル「消えた子どもたち」取材班 369.4
36. 『日本占領史1945-1952 : 東京・ワシントン・沖縄』 福永文夫 210.76
37. 『日本の決断 : あなたは何を選びますか?』 池上彰 304.9
38. 『昭和ノスタルジアとは何か : 記憶とラディカル・デモクラシーのメディア学』日高勝之 361.4
39. 『マルクスのために』 アルチュセール, ルイ 116.4
40. 『「日本らしさ」の再発見』 浜口恵俊 361.4
41. 『翻訳と日本の近代』 丸山真男, 加藤周一 801.7
42. 『雇用身分社会』 森岡孝二 366.2
43. 『ルポ差別と貧困の外国人労働者』 安田浩一 366.8
44. 『「グローバル人材」再考 : 言語と教育から日本の国際化を考える』 西山教行, 平畑奈美 807
45. 『国際ビジネスコミュニケーション : 国際ビジネス分析の新しい視点』 則定隆男ほか編 670.9
46. 『異文化理解とコミュニケーション〈1〉ことばと文化』 本名信行 ほか編 361.45
47. 『はじめて学ぶ異文化コミュニケーション : 多文化共生と平和構築に向けて』 石井敏 他 361.45
48. 『ケースで学ぶ異文化コミュニケーション―誤解・失敗・すれ違い (有斐閣選書)』 久米 昭元 他 361.45
49. 『異文化理解力――相手と自分の真意がわかる ビジネスパーソン必須の教養』 メイヤー, エリン 336.49
50. 『多文化世界 -- 違いを学び未来への道を探る 原書第3版』 ホフステード, G.他361.5
51. 『異文化間コミュニケーション入門 (丸善ライブラリー)』 鍋倉 健悦  361.45
52. 『異文化コミュニケーション事典』 石井敏他編 361.45
53. 『異文化コミュニケーション研究法―テーマの着想から論文の書き方まで』石井敏他編 361.45
54. 『多文化社会と異文化コミュニケーション』 池田理知子 他 361.45
55. 『異文化コミュニケーションを問いなおす : ディスコース分析・社会言語学的視点からの考察』 ピラー, イングリッド 801.03
56. 『言語と文化: 言語学から読み解くことばのバリエーション』 南 雅彦 801.03
57. 『日本語教師のための異文化理解とコミュニケーションスキル』 八代 京子他 810.7
58. 『グローバル社会の国際関係論 新版 (有斐閣コンパクト)』 山田 高敬他編 319
59. 『先送りできない日本:“第二の焼け跡"からの再出発』 池上彰 304
60. 『異常気象と人類の選択』 江守正多 451
61. 『地域研究入門―異文化理解への道』 鈴木一郎 207
62. 『異文化理解の語用論 : 理論と実践』 スペンサー=オーティー, ヘレン 801
63. 『多文化共生に向けての異文化理解教育論 : 教育心理学からの検討』 沼田潤 361.5
64. 『食からの異文化理解 : テーマ研究と実践』 河合利光 383.8
65. 『日本人の価値観 : 異文化理解の基礎を築く』 原 聰 361.42
66. 『異文化間教育とは何か : グローバル人材育成のために』 西山教行 他編 370.4
67. 『グローバル人材とは誰か: 若者の海外経験の意味を問う』 加藤恵津子 他 334.51
68. 『企業・大学はグローバル人材をどう育てるか : 国際コミュニケーションマネジメントのすすめ』 本名信行他編 336.47
69. 『「グローバル人材」をめぐる政策と現実』 五十嵐泰正ほか 334.4
70. 『トランスナショナル・コミュニティ:場所形成とアイデンティティの都市社会学』 広田 康生他 361.78
71. 『外国人労働者受け入れと日本社会 : 技能実習制度の展開とジレンマ』 上林千恵子366.89
72. 『外国人労働者受け入れを問う』 宮島 喬 他 366.89
73. 『異文化コミュニケーション論 : グローバル・マインドとローカル・アフェクト』八島智子他 361.45
74. 『マイマイ新子と千年の魔法』 片渕須直 【DVD】
75. 『阿賀に生きる 』佐藤真【DVD】
76. 『海炭市叙景』熊切和嘉 【DVD】
77.  Modern Girls on the Go: Gender, Mobility, and Labor in Japan. Alisa Freedman et al (Ed.) 331.4
78.  Japanese Horror Films and their American Remakes : Translating Fear, Adapting Culture. Wee, Valerie 791.43

Oct 22, 2017

ประชาสัมพันธ์การบรรยายพิเศษเชิงวิชาการด้านญี่ปุ่นศึกษา / 日本研究セミナーのお知らせ

ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
ขอประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมการบรรยายเชิงวิชาการด้านญี่ปุ่นศึกษา
チェンマイ大学人文学部日本研究センターより
講演会のご案内いたします。

ในหัวข้อ "นัตสึเมะ โซเซกิ กับญี่ปุ่นสมัยใหม่"

"夏目漱石と近代日本"


วันอาทิตย์ที่ 5 พฤศจิกายน 2560
เวลา 9.00-12.00 น. 
ณ ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ HB 6 ชั้น 1
2017年11月5日(日)
9時から12時まで
チェンマイ大学人文学部日本研究センター 6号館1階

วิทยากร: :Prof. Shoji SHIBATA
   Professor at Institute of Japanese Studies 
   Tokyo University of Foreign Studies    
講演者:柴田 勝二
       東京外国語大学大学院国際日本学研究院 教授

บรรยาย : ภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย 
使用言語:日本語・タイ語

ผู้ดำเนินรายการและผู้แปลความ:  อาจารย์ ดร. ทนพร ตรีรัตน์สกุลชัย
     อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น 
       คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
モデレーター・通訳者:タナポーン・トリラッサクルチャイ  
           (人文学部東洋言語学科日本語科、講師)

จัดโดย: ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
       เจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ
共催:チェンマイ大学人文学部日本研究センター
   国際交流基金バンコク文化センター

ผู้ที่สนใจเข้าร่วมรับฟังการบรรยาย กรุณาติดต่อสำรองที่นั่งล่วงหน้าภายในวันที่ 30 ตุลาคม 2560 
ที่ ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ โทรศัพท์ (Tel) 053-943284 หรืออีเมล(Email) cmujapancenter@gmail.com

2017年10月30日までに電話もしくはEmailで事前にご出席をご連絡ください。
Tel: 053-943284
Email: cmujapancenter@gmail.com

Oct 12, 2017

กิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมญี่ปุ่นของสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่/日本語学科教員・学生による日本文化活動

ในวันพุธของทุกๆสัปดาห์ ณ ห้องเรียนศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดการเรียนการสอนการจัดดอกไม้ การชงชาและการเล่นหมากรุกโดยอาจารย์ประจำสาขา และอาจารย์พิเศษชาวญี่ปุ่นได้ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรให้ความรู้กับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นฯ 


毎週水曜日、チェンマイ大学人文学部日本研究センターの講義室で、チェンマイ在住の日本人の先生を迎えて、日本語学科の教員・学生を中心に華道、茶道、将棋の活動が行われています。


ภาคเช้าของสัปดาห์นี้เป็นการจัดกิจกรรมการจัดดอกไม้และการเล่นหมากรุกญี่ปุ่น (โชงิ)
午前は華道、将棋の活動が行われました。





ในภาคบ่าย เป็นกิจกรรมชงชาญี่ปุ่น
また、午後は茶道が行われました。




Oct 11, 2017

【ประชาสัมพันธ์】นิทรรศการการสำรวจต้นกำเนิดการ์ตูนญี่ปุ่น : มังงะ โฮะคุไซ มังงะ ณ เชียงราย/ 【おしらせ】「「マンガ・北斎・漫画:現代日本マンガから見た「北斎漫画」」 チェンラーイ巡回展

ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ขอประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วม
チェンマイ大学人文学部日本研究センターより
国際交流基金主催企画展のご案内をいたします。

”นิทรรศการการสำรวจต้นกำเนิดการ์ตูนญี่ปุ่น : มังงะ โฮะคุไซ มังงะ”
โดยเจแปนฟาวน์เดชั่นกรุงเทพฯ 
(「マンガ・北斎・漫画:現代日本マンガから見た「北斎漫画」」展)  

วันเสาร์ที่ 7 ตุลาคม  – วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน 2560
เปิดทุกวัน 10.00 – 19.00 น.
ณ ขัวศิลปะ เชียงราย
551  ม.1 ต.บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย  57100
โทร  088- 418-5431, 053-166-623

2017年10月7日(土)―11月2日(木)
10:00-19:00
 クルア・シラパ(チェンライ県)にて
住所:551  ม.1 ต.บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย  57100
電話:088- 418-5431, 053-166-623


Website: http://www.jfbkk.or.th/english-an-exhibition-exploring-the-origin-of-japanese-manga-manga-hokusai-manga/?lang=th(ภาษาไทย)
Website: http://www.jfbkk.or.th/english-an-exhibition-exploring-the-origin-of-japanese-manga-manga-hokusai-manga/?lang=en (English)

Oct 9, 2017

แนะนำหนังสือ/図書紹介

ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแนะนำหนังสือยอดนิยมประจำสัปดาห์  จำนวน 3 เล่ม ดังนี้
チェンマイ大学人文学部日本研究センターよりおすすめの 3 冊の紹介をさせて頂きます

1.เคล็ดลับและมารยาทในการผูกมิตร おつきあいのマナーとコツ


  เป็นหนังสือที่รวบรวมเทคนิคให้เราสามารถก้าวข้ามผ่านเหตุการณ์ต่างๆ สร้างมิตรภาพดีดีในการคบหาสมาคมกับบุคคลหลากหลายประเภทที่เราต้องพบเจอในชีวิต เช่น
มารยาทในการทักทาย การเชิญชวน การแนะนำ การย้ายบ้านใหม่ การออกเดท ฯลฯ

夫婦、恋人、ご近所、友人…、最も身近で大切な人たちと。自分と誰かが過ごす「時間と空間」を幸せなものにするのがマナー。だから、最も愛すべき人、親しい人、隣にいる人にこそ、マナーの心で接したい。人、家、街が明るくなる、ほんの少しのヒント。

2.เคล็ดลับและมารยาทในการพูด 話し方のマナーとコツ
  หนังสือที่รวบรวมเคล็ดลับพูดอย่างไรให้คนฟังรู้สึกดี พูดอย่างไรไม่บั่นทอนจิตใจของผู้อื่น พูดอย่างไรให้มีแต่คนรักคนชอบ "คำพูด" เปรียบเสมือนกระจกที่สะท้อนจิตใจและตัวตนของคนพูด 

自分の気持ちをうまく表現できない人、いつも会話がギクシャクしてなかなか人と打ち解けられない人は多いはず。ちょっとしたコツとマナーで、会話はもっと楽しくなります。

3. เคล็ดลับและมารยาทในการเข้าสังคม しぐさのマナーとコツ 

   หนังสือเล่มนี้รวบรวมเคล็ดลับในการปฏิบัติตนและการวางตนให้ดูดีในสถานการณ์ต่างๆ ตั้งแต่กิริยามารยาทในการยืน เดิน และนั่ง การเข้าร้านอาหาร การเ้ข้าร่วมงานที่เป็นพิธีการ เช่น งานแต่งงาน งานศพ งานเลี้ยงต่างๆ เป็นต้น

内面の美と心のゆとりを伝えるのは、洗練された身のこなし。立ち居振舞いから冠婚葬祭まで、生活の様々な場面で「好印象を与える人」になるための本。

หนังสือเคล็ดลับเหล่านี้ มีภาพประกอบที่อ่านสนุก และเข้าใจง่าย เหมาะสำหรับทุกเพศ ทุกวัย โดยเฉพาะวัยใกล้จะเรียนจบและออกสู่สังคมทำงาน
大人気「マナーとコツ」はストーリーとイラストが楽しくて、すべての年齢層に適います。
เคล็ดลับ....ที่ไม่เคยลาลับไปกับกาลเวลา
時が経っても変わらない秘訣があります。

ห้องสมุดศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดบริการในวันจันทร์ ถึง ศุกร์ เวลา 8.3012.00 และ13.00-16.30น. (ส-อา, วันหยุดนักขัตฤกษ์ปิดทำการ)
นักศึกษาและบุคคลภายนอก สามารถยืมหนังสือ 3 เล่ม/1สัปดาห์
อาจารย์และคนญี่ปุ่น สามารถยืมหนังสือได้ 5เล่ม/2สัปดาห์

チェンマイ大学人文学部日本研究センター付属図書館は月曜日から金曜日まで、8:30-12:00, 13:00-16:30の時刻で開室しています。(土-日は閉室)
学生および外部利用者は本を3冊、1週間まで借りることができます。
教員および日本人利用者は本を5冊、2週間まで借りることができます。

เทศกาลชมพระจันทร์ 2560/ 2017年度 お月見開催

วันที่ 5 ตุลาคม 2560 เวลา 16.30 น. ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสเทศกาลชมพระจันทร์ "Otsukimi" ในงานนี้ นักศึกษาแลกเปลี่ยนชาวญี่ปุ่นได้ร่วมกันทำขนมดังโงะกับOkonomiyaki และชมพระจันทร์กลางฤดูใบไม้ร่วง(Chushu no Meigetsu)

2017年10月5日 16:30からチェンマイ大学日本研究センターでお月見を行いました。チェンマイ大学に留学中の日本人留学生の皆さんでお団子やお好み焼きを作り、中秋の名月を楽しみました。






การสอบหัวข้อโครงร่างฯ (proposal) ของนักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาญี่ปุ่น 2/2560/ 2017年度第2回プロポーザル試験開催

เมื่อวันอาทิตย์ที่ 8 ตุลาคม 2560 เวลา 13.00 - 16.30 น. ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดการสอบหัวข้อโครงร่างฯ (proposal)ของนักศึกษาปริญญาโทหลักสูตรญี่ปุ่นศึกษา

2017年10月8日(日)13:00-16:30 チェンマイ大学人文学部日本研究センターにおいて、2017年度第2回目となるプロポーザル審査を実施しました。

คณะกรรมการได้ตัดสินให้ผู้เข้าสอบ 2 ท่านผ่านการสอบหัวข้อโครงร่างฯ ในครั้งนี้ หากผู้ที่ผ่านการสอบจบได้รับการรับรองจากคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาในระดับคณะ

審査の結果、2名をプロポーザル試験通過とすることに決定しました。










Oct 4, 2017

Prof. Koji OBATA รองคณบดีคณะ Global and Community Studies มหาวิทยาลัย Fukui เข้าเยี่ยมชมศูนย์ญี่ปุ่นฯ / 小幡浩司 福井大学地域学部副学部長 日本研究センターにご来訪

ในวันอังคารที่ 3 ตุลาคม 2560 Prof. Koji OBATA รองคณบดีคณะ Global and Community Studies มหาวิทยาลัย Fukui เข้าเยี่ยมชมศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ โดยมี อาจารย์ สรัญญา คงจิตต์ หัวหน้าศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ และ อาจารย์ ดร. Masayuki NISHIDA รองหัวหน้าศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ ร่วมให้การต้อนรับ
พร้อมกันนี้ยังได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาในอนาคตอีกด้วย

2017年10月4日 福井大学地域学部 小幡浩司副学部長が日本研究センターをご来訪されました。サランヤー・コンジット センター長、西田昌之副センター長がお迎えし、学術・教育交流における今後の協力について話し合いを行いました。